วันพฤหัสบดีที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

เล่มที่ ๑ หน้าที่ ๓๖๗ - ๓๙๕. ขัณฑจักร

พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑ บรรทัดที่ ๙๕๒๖ - ๑๐๒๗๗ หน้าที่ ๓๖๗ - ๓๙๕.


ขัณฑจักร
ปฐมฌานทุติยฌาน
[๒๕๕] ๑. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและทุติยฌาน ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ...๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้วก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก

ปฐมฌานตติยฌาน
๒. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและตติยฌาน ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ...๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้วก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก

ปฐมฌานจตุตถฌาน
๓. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและจตุตถฌาน ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่างคือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริงต้องอาบัติปาราชิก.

ปฐมฌานสุญญตวิโมกข์
[๒๕๖] ๔. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและสุญญตวิโมกข์ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ...๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก

ปฐมฌานอนิมิตตวิโมกข์
๕. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและอนิมิตตวิโมกข์ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ...๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้วก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก

ปฐมฌานอัปปณิหิตวิโมกข์
๖. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและอัปปณิหิตวิโมกข์ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ...๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้วก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก.

ปฐมฌานสุญญตสมาธิ
[๒๕๗] ๗. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและสุญญตสมาธิ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ...๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้วก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก

ปฐมฌานอนิมิตตสมาธิ
๘. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและอนิมิตตสมาธิ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ...๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้วก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก

ปฐมฌานอัปปณิหิตสมาธิ
๙. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและอัปปณิหิตสมาธิ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ...๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้วก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก.

ปฐมฌานสุญญตสมาบัติ
[๒๕๘] ๑๐. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและสุญญตสมาบัติ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ...๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก

ปฐมฌานอนิมิตตสมาบัติ
๑๑. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและอนิมิตตสมาบัติ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ...๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้วก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก

ปฐมฌานอัปปณิหิตสมาบัติ
๑๒. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและอัปปณิหิตสมาบัติ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ...๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้วก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก

ปฐมฌานวิชชา ๓
[๒๕๙] ๑๓. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและวิชชา ๓ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ...๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก.

ปฐมฌานสติปัฏฐาน ๔
[๒๖๐] ๑๔. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและสติปัฏฐาน ๔ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ...๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก

ปฐมฌานสัมมัปปธาน ๔
๑๕. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและสัมมัปปธาน ๔ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ...๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้วก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก

ปฐมฌานอิทธิบาท ๔
๑๖. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและอิทธิบาท ๔ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้วก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก.

ปฐมฌานอินทรีย์ ๕
[๒๖๑] ๑๗. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและอินทรีย์ ๕ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ...อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้วก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก

ปฐมฌานพละ ๕
๑๘. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและพละ ๕ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่างคือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริงต้องอาบัติปาราชิก.

ปฐมฌานโพชฌงค์ ๗
[๒๖๒] ๑๙. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและโพชฌงค์ ๗ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ...๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก.

ปฐมฌานอริยมรรคมีองค์ ๘
[๒๖๓] ๒๐. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและอริยมรรคมีองค์ ๘ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ...๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก.

ปฐมฌานโสดาปัตติผล
[๒๖๔] ๒๑. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและโสดาปัตติผล ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ...๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก

ปฐมฌานสกทาคามิผล
๒๒. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและสกทาคามิผล ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ...๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก

ปฐมฌานอนาคามิผล
๒๓. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและอนาคามิผล ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ...๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้วก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก

ปฐมฌานอรหัตตผล
๒๔. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและอรหัตตผล ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่างคือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริงต้องอาบัติปาราชิก.

ปฐมฌานสละราคะ
[๒๖๕] ๒๕. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและราคะ ข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริงต้องอาบัติปาราชิก

ปฐมฌานสละโทสะ
๒๖. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและโทสะ ข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้วเพิกแล้ว ถอนแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก

ปฐมฌานสละโมหะ
๒๗. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและโมหะ ข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้วเพิกแล้ว ถอนแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก

ปฐมฌานเปิดจากราคะ
[๒๖๖] ๒๘. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและจิตของข้าพเจ้าเปิดจากราคะ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ...๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิกปฐมฌานเปิดจากโทสะ

๒๙. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและจิตของข้าพเจ้าเปิดจากโทสะ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ...๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก

ปฐมฌานเปิดจากโมหะ
๓๐. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและจิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก.
ขัณฑจักร จบ.

พัทธจักร
[๒๖๗] ๑. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้งซึ่งทุติยฌานและตติยฌาน ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ...๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้วก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก
๒ ... ทุติยฌานและจตุตถฌาน ... ต้องอาบัติปาราชิก
๓ ... ทุติยฌานและสุญญตวิโมกข์ ... ต้องอาบัติปาราชิก
๔ ... ทุติยฌานและอนิมิตตวิโมกข์ ... ต้องอาบัติปาราชิก
๕ ... ทุติยฌานและอัปปณิหิตวิโมกข์ ... ต้องอาบัติปาราชิก
๖ ... ทุติยฌานและสุญญตสมาธิ ... ต้องอาบัติปาราชิก
๗ ... ทุติยฌานและอนิมิตตสมาธิ ... ต้องอาบัติปาราชิก
๘ ... ทุติยฌานและอัปปณิหิตสมาธิ ... ต้องอาบัติปาราชิก
๙ ... ทุติยฌานและสุญญตสมาบัติ ... ต้องอาบัติปาราชิก
๑๐ ... ทุติยฌานและอนิมิตตสมาบัติ ... ต้องอาบัติปาราชิก
๑๑ ... ทุติยฌานและอัปปณิหิตสมาบัติ ... ต้องอาบัติปาราชิก
๑๒ ... ทุติยฌานและวิชชา ๓ ... ต้องอาบัติปาราชิก
๑๓ ... ทุติยฌานและสติปัฏฐาน ๔ ... ต้องอาบัติปาราชิก
๑๔ ... ทุติยฌานและสัมมัปปธาน ๔ ... ต้องอาบัติปาราชิก
๑๕ ... ทุติยฌานและอิทธิบาท ๔ ... ต้องอาบัติปาราชิก
๑๖ ... ทุติยฌานและอินทรีย์ ๕ ... ต้องอาบัติปาราชิก
๑๗ ... ทุติยฌานและพละ ๕ ... ต้องอาบัติปาราชิก
๑๘ ... ทุติยฌานและโพชฌงค์ ๗ ... ต้องอาบัติปาราชิก
๑๙ ... ทุติยฌานและอริยมรรคมีองค์ ๘ ... ต้องอาบัติปาราชิก
๒๐ ... ทุติยฌานและโสดาปัตติผล ... ต้องอาบัติปาราชิก
๒๑ ... ทุติยฌานและสกทาคามิผล ... ต้องอาบัติปาราชิก
๒๒ ... ทุติยฌานและอนาคามิผล ... ต้องอาบัติปาราชิก
๒๓ ... ทุติยฌานและอรหัตผล ... ต้องอาบัติปาราชิก
๒๔ ... ทุติยฌานและราคะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้วเพิกแล้ว ถอนแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก
๒๕ ... ทุติยฌานและโทสะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้วเพิกแล้ว ถอนแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก
๒๖ ... ทุติยฌานและโมหะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้วเพิกแล้ว ถอนแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก
๒๗ ... ทุติยฌานและจิตของข้าพเจ้าเปิดจากราคะ ... ต้องอาบัติปาราชิก
๒๘ ... ทุติยฌานและจิตของข้าพเจ้าเปิดจากโทสะ ... ต้องอาบัติปาราชิก
๒๙ ... ทุติยฌานและจิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ ... ต้องอาบัติปาราชิก
๓๐ ... ทุติยฌานและปฐมฌาน ... ต้องอาบัติปาราชิก

พัทธจักร จบ.
พัทธจักรเอกมูลกนัย ท่านตั้งอุตตริมนุสสธรรมข้อหนึ่งๆ เป็นมูลแล้ว เวียนไปโดยวิธีนี้ท่านย่อไว้.

พัทธจักร เอกมูลกนัย
[๒๖๘] ๑. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้วเข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก
๒ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งทุติยฌาน ...ต้องอาบัติปาราชิก
๓ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งตติยฌาน ...ต้องอาบัติปาราชิก
๔ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งจตุตถฌาน ...ต้องอาบัติปาราชิก
๕ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งสุญญตวิโมกข์ ... ต้องอาบัติปาราชิก
๖ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งอนิมิตตวิโมกข์ ... ต้องอาบัติปาราชิก
๗ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งอัปปณิหิตวิโมกข์ ... ต้องอาบัติปาราชิก
๘ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งสุญญตสมาธิ ...ต้องอาบัติปาราชิก
๙ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งอนิมิตตสมาธิ ...ต้องอาบัติปาราชิก
๑๐ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งอัปปณิหิตสมาธิ ... ต้องอาบัติปาราชิก
๑๑ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งสุญญตสมาบัติ ... ต้องอาบัติปาราชิก
๑๒ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งอนิมิตตสมาบัติ ... ต้องอาบัติปาราชิก
๑๓ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งอัปปณิหิตสมาบัติ ... ต้องอาบัติปาราชิก
๑๔ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งวิชชา ๓ ...ต้องอาบัติปาราชิก
๑๕ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งสติปัฏฐาน ๔ ...ต้องอาบัติปาราชิก
๑๖ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งสัมมัปปธาน ๔ ... ต้องอาบัติปาราชิก
๑๗ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งอิทธิบาท ๔ ...ต้องอาบัติปาราชิก
๑๘ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งอินทรีย์ ๕ ...ต้องอาบัติปาราชิก
๑๙ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งพละ ๕ ...ต้องอาบัติปาราชิก
๒๐ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งโพชฌงค์ ๗ ...ต้องอาบัติปาราชิก
๒๑ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งอริยมรรคมีองค์ ๘ ... ต้องอาบัติปาราชิก
๒๒ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งโสดาปัตติผล ... ต้องอาบัติปาราชิก
๒๓ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งสกทาคามิผล ...ต้องอาบัติปาราชิก
๒๔ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งอนาคามิผล ...ต้องอาบัติปาราชิก
๒๕ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งอรหัตตผล ...ต้องอาบัติปาราชิก
๒๖ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และราคะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ...ต้องอาบัติปาราชิก
๒๗ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และโทสะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ...ต้องอาบัติปาราชิก
๒๘ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และโทสะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ...ต้องอาบัติปาราชิก
๒๙ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และจิตของข้าพเจ้าเปิดจากราคะ ...ต้องอาบัติปาราชิก
๓๐ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และจิตของข้าพเจ้าเปิดจากโทสะ ...ต้องอาบัติปาราชิก.

พัทธจักร เอนกมูลกนัย
มีอุตตริมนุสสธรรมข้อหนึ่งเป็นมูล ที่ท่านย่อไว้ จบ.

[๒๖๙] พัทธจักร ทุมูลกนัย มีอุตตริมนุสสธรรม ๒ ข้อเป็นมูลก็ดี ติมูลกนัยมีอุตตริมนุสสธรรม ๓ ข้อเป็นมูลก็ดี จตุมูลกนัย มีอุตตริมนุสสธรรม ๔ ข้อเป็นมูลก็ดีปัญจมูลกนัย มีอุตตริมนุสสธรรม ๕ ข้อเป็นมูลก็ดี ฉมูลกนัย มีอุตตริมนุสสธรรม ๖ ข้อเป็นมูลก็ดี สัตตมูลกนัย มีอุตตริมนุสสธรรม ๗ ข้อเป็นมูลก็ดี อัฏฐมูลกนัย มีอุตตริมนุสสธรรม๘ ข้อเป็นมูลก็ดี นวมูลนัย มีอุตตริมนุสสธรรม ๙ ข้อเป็นมูลก็ดี ทสมูลกนัย มีอุตตริมนุสสธรรม ๑๐ ข้อเป็นมูลก็ดี บัณฑิตพึงให้พิสดารเหมือนพัทธจักร เอกมูลกนัย ดังที่ให้พิสดารแล้วนั้นเถิด.

พัทธจักร สัพพมูลกนัย มีอุตตริมนุสสธรรมทุกข้อเป็นมูล ดังต่อไปนี้:พัทธจักร สัพพมูลกนัย
[๒๗๐] ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน สุญญตวิโมกข์อนิมิตตวิโมกข์ อัปปณิหิตวิโมกข์ สุญญตสมาธิ อนิมิตตสมาธิ อัปปณิหิตสมาธิสุญญตสมาบัติ อนิมิตตสมาบัติ อัปปณิหิตสมาบัติ วิชชา ๓ สติปัฏฐาน ๔ สัมมัปปธาน ๔อิทธิบาท ๔ อินทรีย์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ อริยมรรคมีองค์ ๘ โสดาปัตติผล สกทาคามิผลอนาคามิผล อรหัตตผล ราคะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้วถอนแล้ว โทสะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้วโมหะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว จิตของข้าพเจ้าเปิดจากราคะ จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโทสะ และจิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ ด้วยอาการ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก.
พัทธจักร สัพพมูลกนัย จบ.
สุทธิกวารกถา จบ.

ขัณฑจักร แห่งนิกเขปบท วัตถุนิสสารกะ
[๒๗๑] ๑ ภิกษุรู้อยู่ ประสงค์จะกล่าวว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานแล้ว ดังนี้ แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าทุติยฌานแล้วด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ...๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้วก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าตติยฌานแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าจตุตถฌานแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตวิโมกข์แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตวิโมกข์แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอัปปณิหิตวิโมกข์แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอัปปณิหิตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๐ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๑ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอัปปณิหิตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าวิชชา ๓ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสติปัฏฐาน ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสัมมัปปธาน ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอิทธิบาท ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอินทรีย์ ๕ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าพละ ๕ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าโพชฌงค์ ๗ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๐ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอริยมรรคมีองค์ ๘ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๑ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าโสดาปัตติผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสกทาคามิผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนาคามิผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอรหัตตผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ราคะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้วสลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า โทสะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้วละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า โมหะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้วละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจากราคะ ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโทสะ ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๓๐ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
ขัณฑจักร แห่งนิกเขปบท วัตถุนิสสารกะ จบ.

พัทธจักร เอกมูลกนัย แห่งวัตถุนิสสารกะ
มีอุตตริมนุสสธรรมข้อหนึ่งเป็นมูล
[๒๗๒] ภิกษุรู้อยู่ ประสงค์จะกล่าวว่า ข้าพเจ้าเข้าทุติยฌานแล้ว ดังนี้ แต่กล่าวเท็จว่าข้าพเจ้าเข้าตติยฌานแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่างคือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าจตุตถฌานแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตวิโมกข์แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตวิโมกข์แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอัปปณิหิตวิโมกข์แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอัปปณิหิตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๐ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๑ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอัปปณิหิตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าวิชชา ๓ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสติปัฏฐาน ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสัมมัปปธาน ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอิทธิบาท ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอินทรีย์ ๕ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าพละ ๕ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าโพชฌงค์ ๗ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอริยมรรคมีองค์ ๘ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๐ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าโสดาปัตติผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๑ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสกทาคามิผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนาคามิผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอรหัตตผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ราคะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้วสลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า โทสะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้วละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า โมหะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้วสลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจากราคะ ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโทสะ ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๓๐ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
พัทธจักร เอกมูลกนัย แห่งวัตถุนิสสารกะ
มีอุตตริมนุสสธรรมข้อหนึ่งเป็นมูล จบ.

มูลแห่งพัทธจักรที่ท่านย่อไว้
[๒๗๓] ๑ ภิกษุรู้อยู่ ประสงค์จะกล่าวว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ ดังนี้ แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าทุติยฌานแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าตติยฌานแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าจตุตถฌานแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตวิโมกข์แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตวิโมกข์แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอัปปณิหิตวิโมกข์แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๐ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอัปปณิหิตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๑ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอัปปณิหิตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าวิชชา ๓ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสติปัฏฐาน ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสัมมัปปธาน ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอิทธิบาท ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอินทรีย์ ๕ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าพละ ๕ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๐ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าโพชฌงค์ ๗ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๑ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอริยมรรคมีองค์ ๘ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าโสดาปัตติผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสกทาคามิผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนาคามิผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอรหัตตผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ราคะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้วสลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า โทสะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้วสลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า โมหะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้วสลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจากราคะ ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๓๐ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโทสะ ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
พัทธจักร เอกมูลกนัย แห่งวัตถุนิสสารกะ ที่ท่านย่อไว้ จบ.
ขัณฑจักรทุมูลกนัย แห่งวัตถุนิสสารกะ

มีอุตตริมนุสสธรรม ๒ ข้อเป็นมูล
[๒๗๔] ๑ ภิกษุรู้อยู่ ประสงค์จะกล่าวว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและทุติยฌานแล้ว ดังนี้แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและตติยฌานแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ...๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและจตุตถฌานแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและสุญญตวิโมกข์แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและอนิมิตตวิโมกข์แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและอัปปณิหิตวิโมกข์แล้ว ...เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและสุญญตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและอนิมิตตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและอัปปณิหิตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและสุญญตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๐ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและอนิมิตตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๑ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและอัปปณิหิตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและวิชชา ๓ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและสติปัฏฐาน ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและสัมมัปปธาน ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและอิทธิบาท ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและอินทรีย์ ๕ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและพละ ๕ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและโพชฌงค์ ๗ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและอริยมรรคมีองค์ ๘ แล้ว ...เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๐ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและโสดาปัตติผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๑ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและสกทาคามิผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและอนาคามิผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและอรหัตตผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌาน และราคะ ข้าพเจ้าสละแล้วคายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌาน และโทสะ ข้าพเจ้าสละแล้วคายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌาน และโมหะ ข้าพเจ้าสละแล้วคายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌาน และจิตของข้าพเจ้าเปิดจากราคะ ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย ๒๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌาน และจิตของข้าพเจ้าเปิดจากโทสะ ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌาน และจิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
ขัณฑจักร ทุมูลกนัย แห่งวัตถุนิสสารกะ
มีอุตตริมนุสสธรรม ๒ ข้อเป็นมูล จบ.


พัทธจักร ทุมูลกนัย แห่งวัตถุนิสสารกะ
มีอุตตริมนุสธรรม ๒ ข้อเป็นมูล
[๒๗๕] ๑ ภิกษุรู้อยู่ ประสงค์จะกล่าวว่า ข้าพเจ้าเข้าทุติยฌานและตติยฌานแล้วดังนี้ แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าจตุตถฌานแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ...๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตวิโมกข์แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตวิโมกข์แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอัปปณิหิตวิโมกข์แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอัปปณิหิตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๐ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอัปปณิหิตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๑ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าวิชชา ๓ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสติปัฏฐาน ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสัมมัปปธาน ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอิทธิบาท ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอินทรีย์ ๕ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าพละ ๕ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าโพชฌงค์ ๗ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอริยมรรคมีองค์ ๘ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าโสดาปัตติผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๐ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสกทาคามิผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๑ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนาคามิผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอรหัตตผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ราคะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้วสลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า โทสะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้วสลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า โมหะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้วสลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจากราคะ ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโทสะ ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
พัทธจักร ทุมูลกนัย แห่งวัตถุนิสสารกะ
มีอุตตริมนุสสธรรม ๒ ข้อเป็นมูล จบ.


พัทธจักร ทุมูลกนัย แห่งวัตถุนิสสารกะ
ที่ท่านย่อไว้
[๒๗๖] ๑ ภิกษุรู้อยู่ ประสงค์จะกล่าวว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโทสะ และจิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ ดังนี้ แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ...๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าทุติยฌานแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าตติยฌานแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าจตุตถฌานแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตวิโมกข์แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตวิโมกข์แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอัปปณิหิตวิโมกข์แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๐ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอัปปณิหิตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๑ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอัปปณิหิตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าวิชชา ๓ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสติปัฏฐาน ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสัมมัปปธาน ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอิทธิบาท ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอินทรีย์ ๕ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๑๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าพละ ๕ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๐ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าโพชฌงค์ ๗ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๑ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอริยมรรคมีองค์ ๘ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าโสดาปัตติผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสกทาคามิผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนาคามิผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอรหัตตผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ราคะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้วสลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า โทสะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้วสลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า โมหะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้วสลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
๒๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจากราคะ ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
พัทธจักร ทุมูลกนัย มีอุตตริมนุสสธรรม ๒ ข้อเป็นมูล
แห่งวัตถุนิสสารกะ ที่ท่านย่อไว้ จบ.


[๒๗๗] พัทธจักรแห่งวัตถุนิสสารกะ มีอุตตริมนุสสธรรม ๓ ข้อเป็นมูลก็ดี มีอุตตริมนุสสธรรม ๔ ข้อเป็นมูลก็ดี มีอุตตริมนุสสธรรม ๕ ข้อเป็นมูลก็ดี มีอุตตริมนุสสธรรม ๖ ข้อเป็นมูลก็ดี มีอุตตริมนุสสธรรม ๗ ข้อเป็นมูลก็ดี มีอุตตริมนุสสธรรม ๘ ข้อเป็นมูลก็ดีมีอุตตริมนุสสธรรม ๙ ข้อเป็นมูลก็ดี มีอุตตริมนุสสธรรม ๑๐ ข้อเป็นมูลก็ดี บัณฑิตพึงทำให้เหมือนพัทธจักร แม้มีอุตตริมนุสสธรรมข้อหนึ่งๆ เป็นมูล แห่งนิกเขปบททั้งหลายที่กล่าวไว้แล้วฉะนั้น พึงให้พิสดารเหมือนพัทธจักร มีอุตตริมนุสสธรรมข้อหนึ่งเป็นมูล ที่ท่านให้พิสดารแล้วนั้นเถิด.
พัทธจักร สัพพมูลกนัย

มีอุตตริมนุสสธรรมทุกข้อเป็นมูล ดังนี้:
[๒๗๘] ภิกษุรู้อยู่ ประสงค์จะกล่าวว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌานจตุตถฌาน สุญญตวิโมกข์ อนิมิตตวิโมกข์ อัปปณิหิตวิโมกข์ สุญญตสมาธิ อนิมิตตสมาธิอัปปณิหิตสมาธิ สุญญตสมาบัติ อนิมิตตสมาบัติ อัปปณิหิตสมาบัติ วิชชา ๓ สติปัฏฐาน ๔สัมมัปปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรีย์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ อริยมรรคมีองค์ ๘ โสดาปัตติผลสกทาคามิผล อนาคามิผลและอรหัตตผลแล้ว ราคะ ข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้วละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว โทสะ ข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้วสลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว โมหะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้วเพิกแล้ว ถอนแล้ว จิตของข้าพเจ้าเปิดจากราคะ จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโทสะ และจิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
พัทธจักร สัพพมูลกนัย จบ.
จักรเปยยาลแห่งวัตถุนิสสารกะ จบ.
วัตตุกามวารกถา จบ.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น